สายบุรี สายธารแห่งชีวิตปัตตานี
สายบุรีเป็นแม่น้ำสายใหญ่สายหนึ่งของจังหวัดปัตตานี มีต้นน้ำอยู่ที่ทิวเขาสันกาลาคีรี อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จากนั้นไหลผ่าน อำเภอต่างๆ จนมาลงอ่าวไทยที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รวมความยาวประมาณ 195 กิโลเมตร
เส้นทางล่องเรือในแม่น้ำสายนี้เริ่มจากบริเวณใกล้ปากอ่าว แล้วแล่นทวนน้ำขึ้นมาที่ใกล้ปากอ่าวนักท่องเที่ยวจะเห็นท่าเรือประมง มีเรือน้อยใหญ่จอดเรียงกันคับคั่ง มีทั้งเรือประมงขนาดเล็กวาดลวดลายข้างลำเรือสวยงาม อย่างที่เรียกว่า เรือกอและ เรือพวกนี้เป็นเรือประมงชายฝั่งที่ออกทะเลไม่ไกลเกินกว่า 3 กิโลเมตร ส่วนเรือลำใหญ่เป็นเรืออกทะเลน้ำลึก หลายลำออกไปหากินไกลถึงทะเลประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ไกลจากบริเวณท่าเรือมีชาวบ้านยังชีพด้วยการเลี้ยงปลากระพงในกระชัง
จากนั้นเรือจะแล่นผ่านตัวอำเภอสายบุรีบรรยากาศสองฝั่งแม่น้ำเริ่มเงียบสงบและเป็นธรรมชาติมากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นสวนยางพาราและผลไม้ของชาวบ้าน เช่น ลองกอง มังคุด เงาะ ทุเรียน เป็นต้น เสน่ห์อย่างหนึ่งที่จะพบเห็นได้ในช่วงหน้าแล้งที่ระดับน้ำในแม่น้ำลดลงมาก คือชาวบ้านจะออกหาหอยที่เรียกว่า "หอยเถาะ" เป็นหอยสองฝาตัวเล็กขนาดข้อนิ้วมือโดยชาวบ้านจะลงไปยืนกลางแม่น้ำแล้วใช้เครื่องมือคล้ายคราด กดลงพื้นน้ำที่เป็นสาย แล้วชักเข้าหาตัวหอยจะติดมากับคราดนั้น
นับเป็นภูมิปัญญาเฉพาะถิ่นของชาวบ้านที่น่าสนใจ เรือจะแล่นเลาะเรื่อยไปจนถึงโค้งแม่น้ำบริเวณบ้านโต๊ะบาลา ตำบลกาดูนงตลิ่งช่วงนี้จะเป็น หาดทรายกว้างใหญ่ ยาวหลายร้อยเมตร เป็นจุดพักผ่อน ชมทิวทัศน์ก่อนเดินทางกลับ
ขอบคุรข้อมูลและรูปภาพจาก : http://travel.kapook.com/view10905.html
สะตอฟอร์ยูดอทคอม (Sator4U.com FC) on Facebook
Relate topics
- ลุ่มน้ำตรังลุ่มน้ำตรังเป็นลุ่มน้ำย่อยที่มีความสำคัญลุ่มน้ำย่อยในลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก อยู่ในเขตจังหวัดตรัง จัดเป็น 2 ลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก จากทั้งหมด 25 ลุ่มน้ำของประเทศไทย มีลำน้ำสำคัญ 2 สาย
- อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ จ.พังงาอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อสิงหาคม 2534 มีพื้นที่ประมาณ 125ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเขตอำเภอ ท้ายเหมือง อำเภอกะปง อำเภอตะกั่ว-ป่า และอำเภอเมือง ประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยวคือ
- สะพานเกาะยอ หรือ สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทยสะพานเกาะยอ หรือ สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทย อยู่ในอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอสิงหนคร โดยเชื่อมเกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา และบ้านเขาเขียว อำเภอสิง
- พระนอนแหลมพ้อ ถือได้ว่าเป็นวัดที่เก่าแก่สร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2330 หรือประมาณในสมัยรัชกาลที่ 3พระนอนแหลมพ้อ ถือได้ว่าเป็นวัดที่เก่าแก่สร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2330 หรือประมาณในสมัยรัชกาลที่ 3 วัดพระนอนแหลมพ้อถือได้ว่าเป็นวัดที่เก่าแก่สร้างตั้งแต่เมื่อปีพ.ศ. 2330 หรือประมาณในสมัยรัชกาลที่ 3 สถาป
- สถาบันทักษิณคดีศึกษา หมู่ที่ 1 บ้านอ่าวทราย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านอ่าวทราย ตำบลเกาะยอ บริเวณใกล้เชิงสะพานติณสูลานนท์ช่วงที่ 2 สถาบันตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2521 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของภาคใต้ มีพื้นที่ทั้งหมด 23 ไร่ ลักษณะของอาคารเป็นสถาปั
- เขาตังกวน พระธาตุเจดี กว่า 700 ปี คู่เมืองสงขลาเจดีย์พระธาตุเขาตังกวน กว่า 700 ปี คู่เมืองสงขลา สร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี เดิมชื่อว่า “เมืองตังอู” เจ้าเมืองตังอูชาวบ้านเรียกว่า “พ่อเมืองตังอู” มีพระราชครู ชื่อว่า “ป
- เรื่องราวในจังหวัดพัทลุงที่มีการขุดพบทองคำ นำสันนิษฐานเชื่อมโยงไปสู่ ทองห่อยอดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช และทองห่อยอดพระธาตุวัดเขียนบางแก้วพัทลุงจากเรื่องราวในจังหวัดพัทลุงที่มีการขุดพบทองคำ นำสันนิษฐานเชื่อมโยงไปสู่ #ทองห่อยอดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช และ #ทองห่อยอดพระธาตุวัดเขียนบางแก้วพัทลุง ทำให้หวนนึกถึง #ประวัตินางเลือดขาวผู้สร้างพ
- เกาะพยาม จ.ระนอง ...ดินแดนกาหยูหวานและหาดทรายขาวเกาะพยาม อยู่ฝั่งทะเลอันดามัน จ.ระนอง เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจากเกาะช้าง (ระนอง) อยู่ห่างเกาะช้างมา ทางใต้ 4 กิโลเมตร ตอนกลางของเกาะพื้นที่เป็นภูเขามีป่าไม้และสัตว์ป่าประเภทนก ลิงและหมูป่า พื้นที
- ประวัติความเป็นมาของ ประเพณีรับเทียมดา ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลารับเทียมดา หรือ รับเทวดา เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของชาวไทยพุทธในเขตชนบทภาคใต้ ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นประเพณีที่เกิดจากความเชื่ออันสืบเนื่องกันมาในสังคมเกษตรกรรมในสมัยก่อน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีความเชื่อว
- เกาะละวะ (เกาะละวะใหญ่) เกาะเล็กๆในอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงาทะเลไทยสวยไม่แพ้ที่ใดใน 3 โลก...และวันนี้จะพาเพื่อนๆไปพิสูจน์กันว่าที่กล่าวมานั้นไม่ได้เวอร์แต่อย่างใด กับการเดินทางท่องไปตามใจฉัน ณ เกาะละวะ หรือ เกาะละวะใหญ่ เกาะเล็กๆในเขตอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา อุ