สภาพอากาศภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) ประจำวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555
สภาพอากาศภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) ประจำวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555
พยากรณ์อากาศ ตั้งแต่เวลา 06:00 น.วันนี้ - 06:00 น.วันพรุ่งนี้ มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ร้อยละ 20 ของพื้นที่กับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง ส่วนมากบริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง อุณหภูมิต่ำสุด 23-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-34 องศาเซลเซียส ตั้งแต่จังหวัดสุราษฏร์ธานีขึ้นมา ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นต่ำกว่า 1 เมตร ตั้งแต่จังหวัดนครศรีธรรมราชลงไป ลมตะวันออก ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร
อากาศ 7 วันข้างหน้า 19 มี.ค. 55 - 25 มี.ค. 55
คาดหมายในช่วงวันที 19-23 มี.ค. มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ส่วนมากทางตอนล่างของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลมตะวันออก ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 1 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 24-25 มี.ค. มีฝนฟ้าคะนองกระจายถึงเกือบทั่วไป ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 1 เมตร
ผลกระทบของลักษณะอากาศต่อการเกษตร ในระยะ 7 วันข้างหน้า 19 มี.ค. 55 - 25 มี.ค. 55
- ฝั่งตะวันออก ในช่วงวันที 19-23 มี.ค. มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ส่วนมากทางตอนล่างของภาคอุณหภูมิต่ำสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลมตะวันออก ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 24-25 มี.ค. มีฝนฟ้าคะนองกระจายถึงเกือบทั่วไป กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80% - สำหรับทางตอนบนของภาคจะมีฝนน้อย เกษตรกรควรดูแลให้น้ำแก่พืชอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะพืชที่มีระบบรากตื้น เช่น ผักและพืชไร่ชนิดต่างๆ จะได้รับผลกระทบจากสภาพความแห้งแล้งก่อนพืชชนิดอื่นๆ -ส่วนทางตอนล่างของภาคยังคงมีฝนตก ชาวสวนผลไม้ควรระวังและป้องกันการระบาดของศัตรูพืชจำพวกหนอน ซึ่งจะกัดกินใบอ่อนและยอด ทำให้ต้นทรุดโทรม - สำหรับบริเวณที่มีฝนตกหนัก เกษตรกรควรกักเก็บน้ำ เอาไว้เพื่อใช้ทางด้านการเกษตร และควรวางแผนการใช้น้ำที่เก็บกักไว้ให้มีประสิทธิภาพ
ขอขอบคุณ : กรมอุตุนิยมวิทยา (http://www.tmd.go.th/)
Relate topics
- ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พังงา ตรัง และสตูล ...ระวังฝนตกหนักคลื่นกระแสลมตะวันออกจากทะเลจีนใต้ยังคงเคลื่อนเข้ามาปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ทำให้ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) มีฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไป ร้อยละ 80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ยังพบกลุ่มเมฆฝนปกคลุมภาคใต้ตอนบน และภาคใต้ตอนล่าง รวมทั้งบริเวณทะเลอันดามันคลื่นกระแสลมตะวันออกจากทะเลจีนใต้เคลื่อนเข้าปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ทำให้ภาคใต้ยังมีฝนเกือบทั่วไป และมีฝนตกหนักบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากฝนตกหนักในระยะ 1-2 วันนี้ ข้อมูลเพิ่ม
- ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา และยะลา ...เตรียมร่มกันให้พร้อมด้วยนะครับเวลา 16.15 น. วันที่ 18 พ.ย. 55 ...เรดาร์ฯ สทิงพระตรวจพบกลุ่มเมฆฝนชั้นต่ำ ปกคลุมเหนือจังหวัดสงขลา (อ.รัตภูมิ อ.ควนเนียง) ตรัง สตูล และยะลา ทำให้พื้นที่ดังกล่าว มีฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไป
- หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงบริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่าง ได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันแล้วหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงบริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่าง ได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันแล้ว โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 500 กิโลเมตร คาดว่าจะเคลื่อนเข้าสู่ปลายแหลมญวนในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 ลักษณะเ
- ประกาศเตือนภัย "ฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลาก " ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 05 พฤษภาคม 2555ประกาศเตือนภัย "ฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลาก " ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 05 พฤษภาคม 2555 ลมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรง ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวมะตะบันจะเ
- ประกาศเตือนภัย"พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 10 ลงวันที่ 28 เมษายน 2555ประกาศเตือนภัย"พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 10 ลงวันที่ 28 เมษายน 2555 ความกดอากาศต่ำจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ประกอบกับบริเวณความกดอากาศสูง ยังคงปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และทะเลจีนใต้ ลักษณะเช่
- ประกาศเตือนภัย "พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 26 เมษายน 2555ประกาศเตือนภัย "พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 26 เมษายน 2555 บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและทะเลจีนใต้ในคืนวันนี้ (26 เม.ย.55) ในขณะที่บริเ
- ประกาศเตือนภัย "พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 03 เมษายน 2555ประกาศเตือนภัย "พายุฤดูร้อน " ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 03 เมษายน 2555 บริเวณความกดอากาศสูงกำลังปานกลางระลอกใหม่จากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และทะเลจีนใต้ ในคืนนี้ (3 เม
- พายุโซนร้อนวาชิ เคลื่อนออกจากทะเลทางตอนใต้ประเทศฟิลิปปินส์ มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เข้าสู่ทะเลจีนใต้ตอนล่าง และเริ่มอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ19 ธ.ค. 2554 ขณะนี้พายุโซนร้อนวาชิ เคลื่อนออกจากทะเลทางตอนใต้ประเทศฟิลิปปินส์ มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เข้าสู่ทะเลจีนใต้ตอนล่าง ด้วยความเร็วประมาณ 13 น๊อต 24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งค่อยๆลดความเ
- อุตุฯ ประกาศเตือนภัย "อากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบนและฝนตกหนักในภาคใต้ตอนล่างกับคลื่นลมแรงในอ่าวไทยตอนล่าง "อุตุฯ ประกาศเตือนภัย "อากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบนและฝนตกหนักในภาคใต้ตอนล่างกับคลื่นลมแรงในอ่าวไทยตอนล่าง " ฉบับที่ 11 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2554 บริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงจากประเทศจีนยังค